­
Customize Consent Preferences

We use cookies to help you navigate efficiently and perform certain functions. You will find detailed information about all cookies under each consent category below.

The cookies that are categorized as "Necessary" are stored on your browser as they are essential for enabling the basic functionalities of the site. ... 

Always Active

Necessary cookies are required to enable the basic features of this site, such as providing secure log-in or adjusting your consent preferences. These cookies do not store any personally identifiable data.

No cookies to display.

Functional cookies help perform certain functionalities like sharing the content of the website on social media platforms, collecting feedback, and other third-party features.

No cookies to display.

Analytical cookies are used to understand how visitors interact with the website. These cookies help provide information on metrics such as the number of visitors, bounce rate, traffic source, etc.

No cookies to display.

Performance cookies are used to understand and analyze the key performance indexes of the website which helps in delivering a better user experience for the visitors.

No cookies to display.

Advertisement cookies are used to provide visitors with customized advertisements based on the pages you visited previously and to analyze the effectiveness of the ad campaigns.

No cookies to display.

Why Do We Use Concrete More than Steel

Blog ก่อนหน้านี้ผมได้เขียนเรื่อง ประโยชน์และคุณสมบัติเฉพาะตัวของ คอนกรีต และเหล็กตามลำดับ เป็นที่ทราบดีว่า คอนกรีต ซึ่งเป็นส่วนผสมจากปูนซีเมนต์ ทราย หินบด หรือกรวด และน้ำสะอาด เป็นส่วนผสม ซึ่งไม่มีความแข็งแรง หรือ ทนทานได้เท่าเทียมกับเหล็กเลย แถมยังเปราะแตกหักได้ง่ายอีกต่างหาก แต่เหตุไฉน เราจึงใช้คอนกรีตในการก่อสร้างมากกว่าเหล็กและมากขึ้นทุกวัน นั่นเป็นเพราะว่า

1.ราคา

คอนกรีต เป็นวัสดุที่วิศวกรนิยมนำมาใช้ในการก่อสร้างเนื่องจากราคาถูกที่สุด วัสดุส่วนผสม ไม่ว่าจะเป็น หิน ทราย หรือ น้ำ ต่างก็หาได้ในพื้นที่ส่วนใหญ่บนโลกใบนี้  และราคาไม่แพง ขึ้นกับภูมิประเทศของโครงการที่ตั้งอยู่ และความมีพร้อมของวัสดุ

2. ความแข็งแรงทนทาน

คอนกรีต เป็นวัสดุที่ทนทานต่อน้ำอย่างเป็นเลิศ ซึ่งวัสดุอื่นไม่สามารถต้านทานน้ำได้เหมือน ดังเช่น ไม้ หรือ โลหะทั่วๆไป คอนกรีตเปือยจึงใช้ในการก่อสร้าง เขื่อน ฝาย ดาดคลองระบายน้ำ กำแพงกันดิน และ ถนน เป็นต้น ที่เห็นได้ชัดเมื่อเกิดกรณีน้ำท่วมใหญ่เมื่อปี 2554 ที่ผ่านมา ภาครัฐได้ทำการก่อสร้างเขื่อนกั้นน้ำ ฝายกั้นน้ำ ทำนบกั้นน้ำ จากคอนกรีต เป็นต้น  นอกจากนั้น ส่วนประกอบต่างๆของอาคารเช่น เสาเข็ม ฐานราก พื้น คาน เสา ผนัง ดาดฟ้าส่วนที่สัมผัสน้ำ ท่อระบายน้ำ ส่วนใหญ่จะใช้คอนกรีต หรือ pre-stressed concrete เสมอ

3. ความยั่งยืนในการใช้งาน

ในโลกปัจจุบันที่เรามองหาวัสดุที่ไม่เป็นมลพิษ หรือทำลายสิ่งแวดล้อม และมีความคงทนถาวร คอนกรีตเป็นวัสดุที่ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม หรือน้อยมาก นอกจากนั้นคอนกรีตไม่เพียงแต่นำเศษไปเป็นวัสดุถมยกระดับอย่าง

 

เดียว ยังสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ (recycle)  โดยนำมาบด แล้วผสมเป็นคอนกรีตได้อีก

4. คุณสมบัติในการทนไฟ และความร้อน

คอนกรีตไม่เป็นวัสดุที่ติดไฟ แต่เป็นวัสดุกันไฟ และสามารถเป็นฉนวนกันความร้อนได้อย่างดี ไม่เหมือนไม้ หรือ โลหะ

ความต้านทานไฟ เป็นคุณสมบัติที่ได้เปรียบอย่างหนึ่งของคอนกรีตเสริมเหล็ก เมื่อทำการก่อสร้างอย่างถูกต้องเหมาะสมสามารถกำหนดระยะเวลาในการ ทนทานไฟของคอนกรีต

ได้ หลายชั่วโมง ส่วนเหล็กจะมีคุณสมบัติในการขยายตัวอย่างมาก เมื่อถูกความร้อน ในขณะที่ไฟไหม้ ดังภาพด้านล่าง

 

5.การกัดกร่อนการบำรุงรักษา

คอนกรีต ไม่ผุกร่อน ไม่ต้องการการเคลือบผิว และมีความแข็งแกร่งเพิ่มขึ้นตามกาลเวลา ต่างจากเหล็ก ที่มีความผุกร่อนสูง โดยเฉพาะบริเวณใกล้ทะเล ได้มีการวิจัยมากมายเพื่อการหาวิธีในการป้องกันพื้นผิวเหล็ก ฉะนั้นเหล็กจึงมีค่าใช้จ่ายบำรุงรักษา และซ่อมแซมมาก

 

6.ความง่ายในการใช้งาน ก่อสร้าง และขึ้นรูป

คอนกรีตถูกใช้งานอย่างแพร่หลาย ในการหล่อส่วนของโครงสร้างที่มี รูปทรงและขนาดต่างๆ  อย่างแพร่หลาย หลายรูปทรง และสามารถทำได้อย่างง่ายดาย ทั้งนี้เนื่องจากคุณสมบัติของคอนกรีต เมื่อยังไม่แข็งตัวจะสามารถ ไหลไปตามส่วนของแบบฟอร์มที่ต้องการขึ้นรูปได้ดีนั่นเอง นอกจากนั้นเมื่อคอนกรีตแข็งตัว ถอดแบบออกมายังสามารถนำแบบหล่อคอนกรืตกลับไปใช้ต่อได้อีก

 

7.ความสามารถในการต้านทาน recycling loading ในทางเทคนิค

เนื่องจากความแข็งแรงของเหล็กมีอิทธพลอย่างมาก ต่อจุดรอยเชื่อม  หรือส่วนที่ถูกกัดกร่อน หรือส่วนที่เปลี่ยนทิศทางขององค์ประกอบโครงสร้างอย่างกระทันหัน เช่นจากส่วนที่เป็นเหล็กบางแล้วเปลี่ยนเป็นโครงเหล็กหนา เป็นต้น ซึ่งจุดดังกล่าวทำให้เหล๊กด้อยความแข็งแรงลงไป