Steel for construction

ในการก่อสร้างใดๆ ย่อมจะมีเหล็กเข้ามาเกี่ยวข้องไม่มากก็น้อย ขึ้นอยู่กับองต์ประกอบที่หลากหลาย เป็นที่ทราบกันดีว่าเหล็กสามารถรับน้ำหนักได้มากมายไม่ว่าจะเป็นแรงกด แรงบิด แรงเฉือน หรือแรงดึง ต่างก็สามารถตอบสนองการใช้งานได้ทุกรูปแบบ และรับน้ำหนักได้มากกว่าคอนกรีตมากมายหลายเท่า สามารถปรับ ตัดแต่งรูปทรงได้ไม่มีขีดจำกัด   ในการใช้เหล็กสำหรับการก่อสร้างโดยทั่วไป แบ่งเป็น 2 ประเภทหลักคือ ใช้เหล็กเสริมในคอนกรีต ซึ่งมีการใช้อย่างแพร่อยู่2 ชนิดคือ 1. เหล็กเส้น (Reinforcement Bar) ในประเทศไทย ประกอบด้วย เหล็กข้ออ้อย และเหล็กกลม ดังแสดงในรูปด้านล่าง   เหล็กข้ออ้อยจะมีมาตรฐานการผลิตที่ดีกว่า และสามารถรับน้ำหนัก หรือรับแรงได้ดีกว่าเหล็กกลม แต่อย่างไรก็ตามเหล็กกลมก็มีส่วนดี คือเหนียว ง่ายในการดัดจึงนิยมใช้สำหรับการนำมาทำเหล็กปลอกสำหรับยึดประกอบโครงเหล็กก่อนที่จะทำการหล่อคอนกรีต ส่วนเหล็กข้ออ้อยจะเปราะกว่าในการดัดจึงสามารถดัดได้เพียงดัดฉาก มาตรฐานการใช้งานมีดังนี้ เหล็กกลม SR24 รับน้ำหนักได้ 2,400 กก/ตร.ซม เหล็กข้ออ้อย SD30 รับน้ำหนักได้ 3,000 กก/ตร.ซม เหล็กSD40 รับน้ำหนักได้ 4,000 กก/ตร.ซม 2.  เหล็กรูปพรรณ (Structural steel) ซึ่งเป็นเหล็กที่ใช้เป็นโครงสร้างได้โดยตรง เช่นโครงหลังคา และในปัจจุบันบ้านเราเริ่มนำเอาเหล็กรูปพรรณมาใช้ในการสร้างบ้านทั้งหลัง ไม่ว่าจะเป็นคาน พื้น …

Continue Reading

Soya bean uses in construction

My last few articles have been about byproducts of grains, such as rice, wheat, and corn. These are grains that are universally used and recognized as a major source of food. Most grains that do contain gluten, are also used   as replacements within the manufacturing process to help with cutting down on waste and becoming more energy efficient. Today I …

Continue Reading

Put it back!

So going back to the initial concept of reuse, reduce, and recycle! We need to look at the aspects of how materials not only should be used of recycled products but also of all the products around us that are easily recycled. I already mentioned that the basic recyclable materials are glass, wood, and metal. This week I want to …

Continue Reading

Concrete for construction

เป็นที่ทราบดีว่า คอนกรีต ซึ่งเป็นส่วนผสมจากจากวัสดุธรรมชาติ หลักๆเพียง 4 ชนิด คือ ปูนซีเมนต์ ทราย หินบด หรือกรวด และน้ำสะอาด ก็สามารถหล่อให้เป็นรูปทรงต่างๆได้มากมาย จากส่วนเล็กๆ เช่นทางเดิน ไปจนถึงตึกระฟ้า และวิวัฒนาการการใช้คอนกรีตก็เพิ่มมากขึ้น เทียบเท่ากับความสูงของตึกที่นับวันจะสูงขึ้นๆ  เราใช้คอนกรีตในการก่อสร้างมากขึ้นทุกวัน  ในช่วงปีที่ผ่านมา ตามสถิติ ประชากรโลกได้ใช้คอนกรีต เป็นจำนวนประมาณถึง 11,000 ล้านเมตริกตัน ในงานก่อสร้างต่างๆ ทั้งนี้ ก็ด้วยเหตุผลดังนี้ 1. คอนกรีต เป็นวัสดุที่ทนทานต่อน้ำอย่างเป็นเลิศ ซึ่งวัสดอื่นไม่สามารถต้านทานน้ำได้เหมือน ดังเช่น ไม้ หรือ โลหะทั่วๆไป คอนกรีตเปือยจึงใช้ในการก่อสร้าง เขื่อน ฝาย ดาดคลองระบายน้ำ กำแพงกันดิน และ ถนน เป็นต้น ที่เห็นได้ชัดเมื่อเกิดกรณีน้ำท่วมใหญ่เมื่อปี 2554 ที่ผ่านมา ภาครัฐได้ทำการก่อสร้างเขื่อนกั้นน้ำ ฝายกั้นน้ำ ทำนบกั้นน้ำ และอีกมากมายจากคอนกรีต นอกจากนั้น ส่วนประกอบต่างๆของอาคารเช่น เสาเข็ม ฐานราก พื้น คาน เสา ผนัง ดาดฟ้าส่วนที่สัมผัสน้ำ …

Continue Reading

Wheat uses in Construction

Wheat is a major component of our diets. It is found in breads, cakes  etc. And since the early 1900’s scientists had developed many kinds of wheat that were resistant to cold, disease and other crop threats. As a result, wheat production has risen around the world dramatically, today Wheat is grown on more land area worldwide than any other …

Continue Reading

The Changing Role Of The Architect

It has been a while since the architect was the master builder and was the ultimate authority for any building design and construction. A lot of factors contributed to this change;   The industrial revolution, new technologies, new materials meant the traditional craftsmen were not capable to handle the new complexity of the design and building industry.   We saw …

Continue Reading

The Dangers of Construction

  จะเห็นได้ว่าเมืองไทย ก็มี หอเอน เหมือนกัน แต่ในที่สุดหอเอนแห่งรังสิตของเราก็ต้องถูกทุบทิ้ง เสียทั้ง เงิน เสียทั้งเวลา ด้วยความประมาทในการก่อสร้าง อาคารนี้ ถูกประกาศเป็นอาคารอันตราย ดูภาพใกล้ของอาคาร ด้านล่าง   งานก่อสร้างโดยรวมมักจะมีความอันตรายอยู่ในตัวอยู่แล้ว จะเห็นได้ว่า ที่ใดมีการก่อสร้างที่นั่นมักจะติดป้ายประกาศเตือน อาจจะเหมือนดังข้างล่าง   ดังนั้นเมื่อทำงานอยู่ในพื้นที่ก่อสร้างนอกจาก มีความตั้งใจทำงานอย่างไม่ประมาทแล้ว แล้วอุปกรณ์พื้นฐานจงสวมใส่อย่าได้ออมชอม ต้องสวมใส่ตลอดเวลาจนเป็นนิสัย ผมเคยทำงานที่ซาอุ ฯ เมื่อหลายสิบปีมาแล้ว คนงานต้องปีนขึ้นไปผูกเหล็กเพื่อทำกำแพงสูงประมาณ 5 เมตร ได้ ปีนปายอย่างน่ากลัวเมื่อมองจากข้างล่าง เราต้องเรียกเขาลงมาให้ไปเบิกเข็มขัดนิรภัย ( Safety Belt) ใส่ ปรากฏว่า เขาใส่มันไว้เหมือนกัน แต่ไม่ได้ล็อคไว้กับเหล็ก แต่กลับคล้องไว้ที่บ่าแทน คล้ายๆกับว่า เมื่อนายช่างสั่งผมก็ทำตามแต่ไม่ได้ทำจริง โชคดี ช่างเหล็กคนนั้นไม่ได้ตกลงมา  ที่Site งาน เราจะแจกหมวก รองเท้านิรภัย และถุงมือหนังให้คนงานทุกคน ในตอนนั้นผมต้องคุมงานอยู่กับช่างและกรรมกร นับร้อยคน หมวกนิรภัย ( Hard Hat) ช่วยป้องกันศรีษะผมได้อย่างดี ผมเองก็ชอบเดินไปชน ไม้แบบ หรือสิ่งกีดขวาง …

Continue Reading

Corn uses in Construction

In my last article, I had talked about Rice and how it has been found to have many uses. Today’s article is about Corn. One of the most  versatile foods around.  Corn has been an important crop for thousands of years. Particularly known for being a food source, either in it’s actual form or even as in corn syrup and …

Continue Reading

Nothing to waste!

Year after year, new building standards and adoption of eco-friendly materials have been at a rise. Construction has been shifting to more sustainable methods and materials; even the waste during construction is recycled by separating the debris for potentially recoverable materials. An approximate 3600 kg of waste is disposed into landfills during construction of a 185 sq.m. home.  People are …

Continue Reading

Tactiles II

 วันนี้เรามาดูเรื่องกระเบื้องปูพื้นสำหรับผู้พิการทางสายตาต่อกันครับ  การใช้กระเบื้องปูพื้นเพื่อบอกเส้นทางให้กับผู้พิการทางสายตาอาจแบ่งได้ออกเป็นสองส่วนครับคือส่วนของภายในอาคาร และ ภายนอกอาคาร ส่วนภายในอาคารได้แก่ ทางเดินไปยังจุดต่าง ๆ ภายในอาคารเช่น ทางเดินไปยังบันไดหรือบันไดหนีไฟ ทางเดินไปห้องน้ำ ทางเดินไปตู้ขายบัตรรถไฟฟ้า ทางเดินไปยังช่องทางเข้าชานชาลา ทางเดินไปยังชานชาลารถไฟฟ้า ทางเดินทั่วไปภายนอกอาคารหรือทางเท้า จะมีการจัดเตรียม Hazard warning tile เอาไว้เพื่อเตือนผู้พิการทางสายตา ที่เดินสัญจรไปมาตามทางเท้าไว้หลายรูปแบบ อยากเริ่มในส่วนของภายในอาคารก่อนครับ ทางเดินภายในอาคารที่มีการจัดเตรียมกระเบื้องปูพื้นที่บอกเส้นทางสำหรับผู้พิการทางสายตา ที่อยากยกตัวอย่างได้แก่ อาคารสถานีรถไฟฟ้า เนื่องจากเป็นอาคารสาธารณะที่มีการใช้งานทุกวันในการเดินทางไปทำงานหรือสถานที่ต่าง ๆ จุดปลายทาง โดยทั่วไปจะมีการเตรียมกระเบื้องปูพื้นมีดังนี้ จุดที่เป็นทางเข้าและออกสถานีรถไฟฟ้า และจุดที่บอกองค์ประกอบต่าง ๆ ของอาคาร (Directory board) จุดเริ่มต้นและปลายทางของบันได หรือ ลิฟท์ จุดเริ่มต้นและปลายทางของตู้หรือห้องขายตั๋วรถไฟฟ้า จุดเริ่มต้นและปลายทางของ ประตูเข้าชานชาลาสถานี จุดเริ่มต้นและปลายทางของห้องน้ำ จุดรอรถที่ชานชาลา บริเวณทางเข้าอาคารที่เป็นประตู การจัดระยะของกระเบื้องปูพื้นก็มีความแตกต่างกันและมุ่งผลในด้านความปลอดภัยของผู้พิการทางสายตาเช่นกัน มีการเตือนให้ทราบก่อนที่จะเดินเข้าสูงระยะการเปิดของประตู สิ่งเหล่านี้      เมื่อเข้าสู่ภายในอาคารแล้วพวกเขาคงต้องการทราบรายละเอียดตำแหน่งห้องต่าง ๆ ภายในอาคารครับ สิ่งเดียวที่สื่อสารกับเขาได้คือ Directory board ที่ใช้สำหรับผู้พิการทางสายตา หรือติดต่อสอบถามที่ประชาสัมพันธ์      การเดินไปยังจุดต่าง ๆ …

Continue Reading