Toxic Materials in Thailand, the Case of Asbestos

แร่ใยหิน (asbestos)  หลายคนก็คุ้นเคยและรู้จักอย่างดี แต่หลายคนก็อาจจะไม่รู้จักเลยว่าทำไมหินที่แข็งแกร่งมีใยหินด้วยหรือ แน่นอนบนความแข็งแกร่งก็ย่อมมีความอ่อนนุ่มแฝงอยู่เสมอในธรรมชาติโลกของเรานี้ ลักษณะ ของแร่ใยหิน เป็นเยื้อไฟเบอร์ ดังในรูป   แต่มีคุณสมบัติที่คงทนเนื่องจากเป็นหิน และพิเศษมากมาย กล่าวคือ กันความร้อน และกันไฟ เช่น ใช้ถักทอเป็นเสื้อกันไฟสำหรับนักผจญเพลิง หรือใช้เป็นส่วนผสมในผ้าเบรคสำหรับยวดยานพาหนะ ท่อน้ำร้อนในโรงงาน แม้นกระทั่งในส่วนที่กันความร้อนในไดร์เป่าผม เตาไมโครเวฟ หรือ หม้อหุงข้าวไฟฟ้า  เป็นต้น วัสดุประสานเพิ่มความแข็งแรง เนื่องจากเป็นวัสดุที่มีกำลังรับแรงดึงสูง และยืดหยุ่น เช่นใช้ในส่วนผสมกับซีเมนต์ แล้วนำมาทำขึ้นรูปเป็น ท่อระบายน้ำ หรือท่อน้ำประปา แผ่นกระเบื้องมุงหลังคาที่เรารู้จักมานานคือกระเบื้องลอนเล็ก ลอนคู่ เป็นต้น แผ่นกระเบื้องสำหรับทำฝ้าหรือเพดาน หรือส่วนผสมขึ้นรูปพลาสติกหลากหลายรูปแบบ วัสดุฉนวนกันเสียง และกันไฟ เป็นสารผสมใช้ทำเป็นแผ่นวัสดุกันเสียง ใช้เป็นสารผสมฉีดพ่นหุ้มเหล็ก เพื่อให้สามารถกันเพลิงได้เป็นเวลานาน2-4 ชม เป็นสารไม่นำไฟฟ้า จึงใช้เป็นส่วนผสมของอุปกรณ์ไฟฟ้าหลายชนิด ทนกรด จึงเหมาะอย่างยิ่งที่ใช้ในอุตสาหกรรมเคมี ไม่ว่าจะเป็นท่อ แบตเตรี หรืออุปกรณ์อย่างอื่นที่ใช้งานโดยตรงกับสารเคมี ราคาย่อมเยาว์เหมาะสำหรับเป็นส่วนผสมในวัสดุดังที่กล่าวข้างต้น ทำให้ผลิตภัณฑ์ต่างๆ มีราคาที่คนส่วนใหญ่สามารถจับจ่ายได้   ในโลกนี้ ได้รู้จักแร่ใยหินไม่น้อยกว่า 4,000 ปี และประเทศอังกฤษได้ใช้ประโยขน์จากแร่ใยหินอย่างจริงจังตั้งแต่ช่วงต้นปี คศ 1700 …

Continue Reading

Bangkok lost heritage, what’s next?

Well as promised at my last article, I did some research, not anything in great depth but enough to see what strategies and financing models have been used to salvage architectural heritage in various places across the world. The first one I came across and which has a record of successful applications is; Tax Increment Financing (TIF), the most widely …

Continue Reading

การออกแบบบันไดหนีไฟ

บันไดหนีไฟ เป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางหนีไฟในอาคาร ที่มีกฎหมายอาคารออกข้อบังคับต่าง ๆ ให้ผู้ออกแบบยึดเป็นแนวทางในการออกแบบอาคาร เพื่อความปลอดภัยของผู้ใช้สอยอาคาร กฎหมายอาคารที่ควบคุมรายละเอียดของบันไดหนีไฟ รวมถึงมาตรฐานการออกแบบที่เกี่ยวข้องกับบันไดหนีไฟ มีดังต่อไปนี้ กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (ใช้สำหรับอาคารขนาดใหญ่พิเศษและอาคารสูง) กฎกระทรวงฉบับที่ 55 (ใช้สำหรับอาคารสูงไม่เกิน 23 เมตร) ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่องควบคุมอาคารปี พ.ศ. 2544 ประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง ข้อกำหนดลักษณะแบบของบันไดหนีไฟ และทางหนีไฟทางอากาศของอาคาร พ.ศ. 2531 กฎกระทรวง กำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคารสำหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา พ.ศ. 2548 ระเบียบคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ ว่าด้วยมาตรฐานอุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกโดยตรงแก่คนพิการ พ.ศ. 2544         จากข้างต้นจะเห็นได้ว่ามีกฎหมายหลายฉบับที่ใช้ควบคุมอาคารในส่วนของบันไดหนีไฟ  และเนื่องจากการที่มีการออกกฎหมายออกมาหลายฉบับนี่เอง จึงทำให้เกิดความซ้ำซ้อน และยึดโยงในส่วนข้อกำหนดของกฎหมาย หากจะแบ่งขนาดของอาคารเพื่อให้ง่ายต่อการออกแบบ อาจแบ่งการออกแบบบันไดหนีไฟ ออกเป็นสองประเภทตามกฎหมายควบคุมอาคารดังนี้ บันไดหนีไฟสำหรับอาคารสูงไม่เกิน 23 เมตร บันไดหนีไฟสำหรับอาคาร องค์ประกอบที่สำคัญ ที่จะต้องจัดเตรียมสำหรับบันไดหนีไฟ เพื่อให้อาคารถูกต้องและเกิดความปลอดภัย สอดคล้องกับกฎหมายควบคุมอาคาร รองรับความต้องการของผู้พิการ อาจกำหนดได้ดังนี้       …

Continue Reading

Minimalism in Architecture, Origin, and Context

There are a lot of publications defining what minimalism is, when it started as an architecture movement and what influenced it. In general it is believed that minimalism is a 20th, 21st century movement that was influenced by Japanese architecture, Mies Van Der Rohe,             De Stijl…etc It stands for pure forms, no decoration for …

Continue Reading

ความฉลาดเลือกใช้ ขนาดมาตรฐานของวัสดุก่อสร้าง

  ผู้ออกแบบสามารถออกแบบอาคารเป็นรูปแบบ หรือรูปทรงต่างๆ ได้มากมาย ตามจินตนาการ หากแต่การก่อสร้างอาคารยังคงต้องใช้วัสดุก่อสร้างที่ผลิตออกมาขายโดยทั่วไปโดยผู้ผลิตวัสดุก่อสร้าง ผู้ออกแบบจึงควรที่จะคำนึงถึงขนาดของวัสดุก่อสร้าง เพื่อความเป็นไปได้ในการก่อสร้าง และการใช้ประโยชน์สูงสุดจากขนาดของวัสดุ วัสดุอาจแบ่งออกได้เป็นสองกลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้ วัสดุที่เป็นส่วนของโครงสร้างอาคาร เช่น พื้นสำเร็จรูป ผนังคอนกรีต แผ่นฝ้าเพดาน และ แผ่นหลังคา วัสดุที่ใช้เป็นส่วนตกแต่งของอาคาร เช่น พื้นกระเบื้องยาง พื้นไม้ พรมแผ่น บานประตู หน้าต่าง ผนังอลูมิเนียม และ กระจก เป็นต้น ขนาดของผลิตภัณฑ์วัสดุก่อสร้างที่มีใช้โดยทั่วไป มีขนาดดังนี้ พื้นสำเร็จรูป Hollow core ขนาดกว้าง 300,600,1200 มม ยาว 4000-7000 มม อิฐมวลเบา ขนาด  200 x 600 มม คอนกรีตบล๊อค ขนาด 200 x 400 มม บล๊อคแก้ว ขนาด 200 x 200 มม หลังคากระเบื้องคอนกรีต ขนาด …

Continue Reading

The Art of Reconciling New and Old Architecture Forms

 What strikes you in these images? Is there a clash here, does it intrigue you, bother or pleases you? I am sure there are no simple answers to this question. Some of us love and want modern and new technological wonders others are rather well settled in the familiar, the conventional.As architects we face this dilemma often;Owners and clients sometimes come …

Continue Reading

Understanding Floor area Ratio (FAR)

Floor area ratio means the ratio between the total building area and land plot area. City planning laws were enforcement as the Town and City Planning Act since year 1975 (2518BE). Bangkok area had implemented City Planning law under Ministerial regulation Act no 116 . The  first law came year 1992. The laws  are revised and revamped every 5 years. …

Continue Reading

Impact from new Bangkok Metropolitan Administration (BMA) Land Use

Since we had first BMA land use implemented in year 1992 until today, the law has been controlled use of land and size of building with public road width. BMA land use has split use of land to major activity, minor activity and prohibits activity. Building use that match to major activity has no control of public road width under …

Continue Reading

Dissection of a Hospital

Every one goes to hospitals every once in a while. We take our kids, we go ourselves, we visit someone, it’s very much part of our lives. The space planning and layout of the hospital is a very important. Well space planning of all facilities is important but importantly so for hospitals. While planning a hospital, designers and architects must …

Continue Reading

Cool,Warm, or in between?

Architect Ludwig Mies van der Rohe described Minimalism as “ Less is more” but is it really? When a space is designed minimalistically, “less” often is less A minimal space is often associated with clean, sleek and clear lines, or a very “open” space in other words with elements of  furniture sparsely used  to create an impression. “Minimalism” is a …

Continue Reading